วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2554

แบบทดสอบการเรียนโปรแกรมภาษา HTML






รายชื่อนักศึกษาระดับปวส.1 สทส.1
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปีภาคเรียนที่ 1/2554
ลำดับชื่อ-สกุลชื่อเว็บไซต์บล๊อก
1นายพงศกร นามสุดใจhttp://piingpong48.blogspot.com/
2นายศุภชัย กิยะแพทย์http://suppachai-artzii.blogspot.com/
3นายชินดนัย เสมอเหมือนhttp://promkcc.blogspot.com/
4นายธันวา ไชยเดชhttp://jonaja.blogspot.com/
5นายทศพร ไทยประดิษฐ์http://bigbill235.blogspot.com/
6นายอภิศักดิ์ กองศรีhttp://exromantic.blogspot.com/
7นายขันติ เข็มทองhttp://jojoget777.blogspot.com/
8นายภานุพันธุ์ ปราณีhttp://panupan32.blogspot.com/
9นายภูวเดช โสภณธนยศhttp://phuwadhej.blogspot.com/
10นายศรายุธ ปรีชาวินิจกุลhttp://ohlor.blogspot.com/

วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ 1

แบบฝึกหัดที่ 1

วิชาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดที่ 1

วิชาระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดที่ 1
ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน
ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) Database Management System หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความ สะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล เสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล


สรุปหน่อยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและโปรแกรม Microsoft Access 2007

ระบบฐานข้อมูล (Database System)
คือ ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน โดยมีรูปแบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกันซึ่ง เป็นฐานข้อมูลขององค์กร ทำให้แต่ละหน่วยงานสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูล ก็สามารถทำได้โดยผ่านตัวกลางที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใดนอก จากนั้นยังอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลและการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวก และมีประสิทธิภาพ เสมือนเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูลให้สามารถติดต่อกันได้ ซึ่งรายละเอียดของประโยชน์ในการใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลจะได้กล่าวถึงต่อไป
ประโยชน์ในการใช้ระบบฐานข้อมูล
1. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
2. ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
3. ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล
4. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
5. มีความปลอดภัย
6. ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน
7. ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
แต่ อย่างไรก็ตาม ในการใช้ฐานข้อมูลนั้น ถึงแม้ว่าการประมวลผลด้วยระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีข้อดีหลายประการ แต่ก็จะมีข้อเสียอยู่บ้างดังต่อไปนี้
1. เสียค่าใช้จ่ายสูง
2. เกิดความสูญเสียข้อมูลได้
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
ขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูลนั้นมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด
2. กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้เพื่อทำอะไร และต้องการอะไรบ้าง
3. สอบถามความต้องการของผู้ใช้ว่าจะต้องป้อนข้อมูลใดบ้างเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ที่ได้ออก มาจากระบบว่าต้องการอะไรบ้าง สิ่งใดเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น และสิ่งใดสามารถช่วยให้ระบบมีประสิทธิภาพการทำงานสูงยิ่งขึ้น
4. วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด
5. จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บในระบบฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) โดย พิจารณาจากความสัมพันธ์ว่าเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่
6. วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง เพื่อกำหนดเขตข้อมูลหรือฟิลด์ข้อมูลให้ครบถ้วน
7. พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลด์หลัก (Primary Key) ของแต่ละตาราง
8. วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการ Normalization เพื่อให้ได้ตารางข้อมูลที่ มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนและถูกต้อง
9. กำหนดชนิดข้อมูล (Data Type) ที่ต้องการจัดเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด
10. กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล (Relationship)
11. ออกแบบหน้าจอการใช้งาน
กฎการ Normalization
เป็น กฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อน แก้ไขตารางได้ง่าย และถ้าเปลี่ยนแปลงข้อมูล จะมีผลกระทบต่อข้อมูลอื่นน้อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว เราใช้กฎ

Normalization เพียง 3 ข้อก็เพียงพอในการออกแบบตารางโดยทั่วไปแล้วจากรายละเอียดทั้งหมด 4 ข้อดังนี้
1. กฎข้อที่ 1 (First Normal Form) กล่าวว่า จะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน 1 ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้โดยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคอร์ดใหม่
2. กฎข้อที่ 2 (Second Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 2 จะต้องไม่มี แอตตริบิวต์ (Attribute) หรือ ฟิลด์ที่ไม่ใชคีย์หลักไปผสมหรือปนอยู่กับส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก จะต้องมีเฉพาะคีย์หลักเต็ม ๆ เท่านั้น ซึ่งจะผ่านกฎข้อนี้ จะต้องแยกฟิลด์เฉพาะออกมาสร้างตารางใหม่ แล้วใช้ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)
3. กฎข้อที่ 3 ( Third Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 3 จะต้องไม่มี แอตตริบิวต์ใดที่ขึ้นกับแอตตริบิวต์อื่นที่ไม่ใช่คีย์หลัก การแก้ไขให้ผ่านกฎข้อนี้ ทำได้โดยแยกตารางออกมาสร้างตารางใหม่
4. กฎข้อที่ 4 ( Fourth Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 4 จะต้องไม่มี การขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม (Multivalued Dependency) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบ Many-to-Many ภายในตารางเดียวกัน
ความสามารถของ Microsoft Access 2007
1. สร้างแอปพลิเคชั่นฐานข้อมูลต่าง ๆ
2. สามารถสร้างตาราง (Table) เก็บข้อมูล และออกแบบโครงสร้างของข้อมูลได้
3. มีเครื่องมือที่ช่วยในการสอบถามข้อมูล (Query) จากฐานข้อมูล และสามารถคำนวณหา ผลลัพธ์ได้อีกด้วย
4. มีเครื่องมือฟอร์ม (From) ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลได้สะดวกและง่ายยิ่งขึ้น
5. สามารถสรุปรายงาน (Report) ออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ
6. มีแม่แบบ (Template) และเครื่องช่วย (Wizard) ที่ช่วยในการสร้างฐานข้อมูลให้ สะดวกยิ่งขึ้น
7. สามารถนำข้อมูลเข้า (Import) จากฐานข้อมูลอื่น หรือส่งข้อมูลออก (Export) ไปยัง ฐานข้อมูลอื่นได้
8. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วย Windows SharePoint Services เพื่อแบ่งปัน ข้อมูล Access 2007 กับทุกคนในทีมโดยใช้ Windows SharePoint Services และ Access 2007 ทำให้เพื่อนร่วมทีมสามารถเข้าถึงข้อมูล แก้ไขข้อมูล และดูรายงานแบบเรียลไทม์ ซึ่งก็คือสามารถดูข้อมูลได้โดยตรงจากหน้าจอบนเว็บไซต์
คุณสมบัติใหม่ของ Access 2007
มีการปรับปรุงด้านหลัก ๆ 4 ด้านคือ
1. ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น โดยมีส่วนติดต่อผู้ใช้ใหม่ที่เรียกว่า “ริบบอน” หรือ “ริบบิ้น” (Ribbon)
2. การจัดการรูปแบบของไฟล์โดยสนับสนุนไฟล์ฟอร์แมตใหม่ 3 ชนิดคือ Microsoft Office Open XML, PDF และ XPS
3. ปรับปรุงการทำงานร่วมกันของโปรแกรมในชุด Microsoft Office
4. ปรับปรุงด้านความปลอดภัย
ความต้องการของระบบในการใช้งาน Access 2007
ความต้องการของระบบขั้นต่ำที่ไมโครซอฟต์ได้ระบุไว้ดังนี้
1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) อย่างต่ำ 500 MHz
2. หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB แนะนำ 512 MB
3. พื้นที่เก็บข้อมูล (Harddisk) 1.5 GB
4. ไดรฟ์ต่าง ๆ เช่น CD-ROM,DVD เป็นต้น
5. ความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพ 1024 x 768 พิกเซล หรือสูงกว่า
6. ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP Service Pack2 หรือ Windows Server 2003 หรือระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่กว่า
การวัดและประเมินผลการผ่านจุดประสงค์
ตอนที่1
1. ข. 6.ค.
2. ก. 7.ง.
3. ก. 8.ก.
4. ค. 9.ง.
5. ก. 10.ค.
ตอนที่2 แบบจับคู่
1. ช DBMS
2. จ Normalization
3. ซ Office Button
4. ญ Quick Access Toolbar
5. ฌ Ribbon
6. ก Navigation Pane
7. ค Document Window
8. ข Query
9. ง Macro
10. ฉ Module

ตอนที่3 แบบอัตนัย
1.จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
ตอบ ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดี่ยวกันและจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
2.ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ 1)ลดความซับซ้อนของข้อมูล 2)ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล 3)ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล
4)สามารถให้ข้อมูลร่วมกันได้ 5)มีความปลอดภัย
3.ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ 1.Table คือ ตารางที่ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
2.Queries คือ ส่วนที่ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
3.Forms คือ แบบฟอร์มในการทำงาน ใช้สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
4.Reports คือ ส่วนที่สร้างรายงานสรุปข้อมูล เพื่อนำเสนอข้อมูลในตาราง
5.Macros คือ ชุดคำสั่งการกระทำต่างๆที่นำมารวมกลุ่มกัน
6.Modules คือ โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นด้วยภาษา VBA
4.จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอเข้าใจ
ตอบ ก่อนเริ่มสร้างฐานข้อมูล จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการออกแบบฐานข้อมูลเสียก่อน ว่าข้อมูลที่จะนำมาเก็บในฐาน
ข้อมูลประกอบไปด้วยอะไรบ้าง มีการจัดเก็บในรูปแบบใด
5.จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ตอบ งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่ทำเกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆ หลายอย่าง
ตอนที่4 โครงงาน ( Project )
1.โครงงานระบบการจัดเก็บข้อมูลนักเรียน
ตอบ
2.โครงงานระบบการขายสินค้า
ตอบ

แบบฝึกหัดบทที่ 2
ตอนที่ 1
1.ค 6.ก
2.ง 7.ก
3.ค 8.ข
4.ข 9.ค
5.ค 10.ก


ตอนที่ 2
1. ฌ Field
2. ง Record
3. จ Memo
4. ข OLE Object
5. ซ Currency
6. ญ Attachment
7. ก Input Mask
8. ฉ Format
9. ช Descending
10.ค Ascending


ตอนที่ 3
1. จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ การสร้างตารางมีประโยชน์มหาศาลเราสามารถนำมาประยุกต์นำไปใช้ได้หลายอย่าง เพื่อเป็นการนำตารางมาใช้ในการทำงานข้อฐานข้อมูลและเป็นการลดความซ้ำซอนของข้อมูล
2. จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดที่ไม่ซ้ำกัน เพื่อเป็นตัวกำหนดให้ทุกเรคอร์ดแตกต่างกันและเป็นฟิลด์ที่ไม่เป็นค่าว่าง คือจะต้องมีค่าอยู่เสมอ เช่นรหัสพนักงาน รหัสประจาตัวนักเรียน เป็นต้น
3. อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นข้อมูล (Datasheet View)
ตอบ มุมมองแผ่นข้อมูล เป็นมุมมองที่แสดงข้อมูลจากตาราง ฟอร์ม แบบสอบถาม วิว หรือ Stored Procedure ในรูปแบบของแถวและคอลัมน์ในมุมมองแผ่นข้อมูล คุณสามารถแก้ไขเขตข้อมูล เพิ่มและลบข้อมูล และค้นหาข้อมูลได้
4. จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2. เลือกปุ่มคาสั่ง (Table Design) ในกลุ่มของ Tables จากนั้น Access จะเปิดตารางข้อมูลเปล่าในมุมมองการออกแบบขึ้นมาให้
3. กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกด Tab เพื่อเลื่อนไปยังช่องถัดไป
4. เลือกชนิดข้อมูล
5. กำหนดคาอธิบายฟิลด์
6. กำหนดคุณสมบัติของฟิลด์เพิ่มเติม จากนั้นทาข้อที่ 3 ถึงข้อที่ 6 จนครบทุกฟิลด์ที่ต้องการ
7. คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access เพื่อบันทึกตาราง
8. กำหนดชื่อตาราง
9. คลิกปุ่ม OK
10. จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ถ้าคลิกปุ่ม Yes โปรแกรมจะกำหนดฟิลด์ใหม่ขึ้นมาให้ซึ่งเป็นคีย์หลักชื่อว่า ID แต่ถ้าคลิกปุ่ม No จะให้เรากำหนดคีย์หลักเองในภายหลัง ในที่นี้ให้คลิกปุ่ม No
5. ในการสร้างตารางด้วยแม่แบบ (Template) มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
ตอบ ข้อดีคือ
1. เร็ว เพราะนำมาใช้งานได้เลย
2. ไม่เสี่ยง เพราะ เห็นทั้งคุณภาพและราคาก่อนตัดสินใจ
ข้อเสียคือ
1. อาจจะมีการซ้ำกับคนอื่น ที่ซื้อใช้เหมือนกัน หรือ ก็อบปี้ นำมาใช้เหมือนกัน
2. มีความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองน้อย




บทที่ 3

ตอนที่1
1.ข้อใด ไม่ใช่ ความสามารถของคิวรี่
ข.สร้างตารางเก็บข้อมูล
2.แบบสอบถามข้อมูลใดที่นิยมใช้งานมากที่สุด
ก.Select Query
3.ถ้าต้องการปรับเพิ่มเงินเดือนให้กับพนักงานคนละ 10 เปอเซ็นต์เท่าๆกัน จะต้องใช้แบบ
สอบถามข้อมูลแบบใด
ง.Updaya Query
4.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์
ค.>
5.โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้แทนตัวอักขระใดๆ
ก.*
6.โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้ในการเชื่อมข้อความ
ง.&
7.ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในแบบสอบถามข้อมูล จะต้องกำหนดที่บรรทัดใด
ค.Criteria
8.ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในการค้นหาพนักงานที่มีเดือนตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป จะ
ง.>=50000
9.ข้อใดคือรูปแบบในการสร้างฟิลด์ใหม่
ข.ชื่อฟิลด์ใหม่ : ฟิลด์คำนวณ
10.ข้อใดต่อไปนี้คือสูตรในการหาภาษี 5%
ข.Tax : [Salary]*0.05
ตอนที่2
1. Select Query >>> ฉ.ใช้สอบถามข้อมุลตามเงื่อนไข
2. Crosstab Query >>> ซ.ใช้สอบถามข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์
3. Updata Query >>> จ.ใช้ปรับปรุงข้อมูลตามเงื่อนไข
4. Append Query >>> ข.ใช้ในการเพิ่มข้อมุลต่อท้ายตารางเดิม
5. Delete Query >>> ฌ.ใช้ในการลบข้อมุลตามเงื่อนไข
6. Criteria >>> ก.กำหนดเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูล
7. Like >>> ค.ใช้ตรวจสอบอักขระว่าตรงกับที่กำหนดหรือไม่
8. In >>> ญ.ใช้ในการกำหนดว่าค่าใดบ้างตรงกับค่าในรายการ
9. Find Duplicates Query Wizard >>> ช.ค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
10 Find Unmatched Query Wizard >>> ง.ค้นหาข้อมุลที่ไม่ซ้ำกันใน 2 ตาราง
ตอนที่3
1.จงบอกถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างแบบสอบถามข้อมูลหรือคิวรี่
ช่วยในการสอบถามข้อมูลในตารางวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูล
2.จงบอกขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยมุมมองการออกแบบ1.คลิกเลือกแท็บสร้าง
2.คลิกที่ปุ่ม Query Design
3.คลิกเลือกชื่อตาราง
4.คลิกปุ่ม เพิ่ม
5.คลิกปุ่ม ปิด
6.คลิกเลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการจนครบทุกฟิลด์
7.คลิกที่ มุมมองแผ่นข้อมูลเครื่องมือช่วยสร้าง
3.การสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง (Query Wizard) มีกี่แบบ และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
Query Wizard มี 4 แบบ คือ
1.Simple Wizard สามารถสร้างแบบสอบถามด้วยเครื่องมือง่ายๆ
2.Crosstad Query สามารถแสดงข้อมูลในรูปแบบกราฟและในลักษณะตารางไขว้
3.Find Duplicates Query สามารถค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
4.Find Unmatched Query สามารถค้นหาข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันในตาราง
4.จงอธิบายขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วย Simple Query Wizard

1.คลิกที่แท็บ สร้าง
2.คลิกที่ปุ่มตัวช่วยสร้างแบบสอบถาม
3.เลือกแบบสอบถามข้อมูลอย่างง่าย
4.คลิก ตกลง
5.เลือกชื่อตาราง
6.เลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการ
7.คลิกปุ่ม ถัดไป
8.ตั้งชื่อแบบสอบถามข้อมูล
9.คลิก เสร้จสิ้น
5.จงอธิบายความหมายและหลักการสร้างแบบสอบถามข้อมูล Crossta Query Wizard
เป็นการสร้างแบบสอบถามข้อมูลที่สอบถามความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์ 2 ฟิลด์หรือมากกว่า



บทที่4
ตอนที่ 1
1. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ประโยชน์ของฟอร์ม
ข.เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
2. รูปแบบของฟอร์ม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ง. 5
3. ถ้าต้องการสร้างฟอร์มโดยให้แสดงข้อมูลฟอร์มในมุมมองฟอร์มและมุมมองแผ่ตารางข้อมูล
จะต้องสร้างด้วยคำสั่งใด
ข. Split Form
4. ถ้าต้องการสร้างฟอร์มโดยให้แสดงข้อมูลในทุกๆ เารคคอร์ดจะต้องใช้การสร้างฟอร์มใด
ค. Multiple Item
5. เลเบล (Label) เป็นเครื่องมือที่ใช้ทำอะไร
ก. ป้อนข้อความ

6. ข้อมูลที่นำมาใช้ในการสร้างฟอร์มมาจากที่ใด
ค.TableหรือQuery
7. Form Header คือส่วนใด
ง.ส่วนที่ต้องการแสดงข้อความหรือรูปภาพในหน้าแรกของฟอร์ม
8. ถ้าต้องการสร้างกล่องรายการให้เลือก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
9. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ส่วนประกอบของฟอร์ม
ข. Section
10.หลังจากที่เพิ่มข้อมูลลงในฟอร์มแล้ว ข้อมูลจะถูกจัดเก็บไว้ที่ใด
ก.table

ตอนที่2

1.Columnar Form à ช. แสดงข้อมูล 1 เรคคอร์ดต่อ 1 หน้าฟอร์ม
2.Tabular Form à ฌ. ฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ด
3.Form Design à ง. สร้างฟอร์มด้วยการออกแบบเอง
4.Spirit Form à ฉ. แสดงข้อมูลในมุมมองฟอร์มและแผ่นตาราข้อมูล
5.Pivot Chart à ซ. วิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ
6.Label à ข. พิมพ์ข้อความที่ต้องการแสดง
7.Text Box à ญ. ใช้แสดงข้อมูลในฟิลด์และป้อนสูตรคำนวณ
8.Option Group à ก. กลุ่มรายการให้เลือก
9.Combo Box à จ. กล่องรายการให้เลือกแบบบรรทัดเดียว
10.List Box à ค. กล่องรายการให้เลือกแบบหลายบรรทัด


ตอนที่3
1 จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสรางฟอร์ม
ทำให้ผู้ใช้ทำงานกับข้อมูลในตารางได้สะดวกกว่าการใช้มุมมองแผ่นข้อมูล

2 ในการสร้างฟอร์มมีกี่แบบ แต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
5แบบ
1.ฟอร์มคอลัมน์ (Columnar Form)ทำให้เราสามารถสร้างฟอร์มได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว
2.ฟอร์มแบบตาราง (Tabular Form)สามารถแสดงข้อมูลได้ทุกเรคอร์ด
3.ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet Form)
4.ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ (Pivot Table Form)
5.ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ (Pivot Chart Form 3 ส่วนประกอบของฟอร์มมีอะไรบ้าง และแต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร
1. Form Header
2. Form Footer
3. Page Header
4. Page Footer
5. Detial

4 จงยกตัวอย่างปุ่มเครื่องมือ (Controls) ที่ใช้ในการเพิ่มส่วนประกอบของฟอร์มมา 3ส่วน
ประกอบ พร้อมบอกถึงหน้าที่ในการทำงานของแต่ละส่วนประกอบ
Text Box ใช้แสดงข้อมูลในฟิลด์ป้อนสูตรคำนวณและฟั่งชั่นอื่น
Label ใช้สำหรับพิมพ์ข้อความในฟอร์ม
Botton ปุ่มคำสั่ง

5 จงอธิบายถึงขั้นตอนในการสร้างฟอร์มแบบแผนภูมิ (PivotChart)
1. คลิกที่แท็บสร้าง(Create)
2. คลิกที่ปุ่ม Pivot Chart ในกลุ่มของฟอร์ม
3. คลิกที่พื้นที่ในแผนภูมิ แล้วจะแสดงฟิลด์ รายการข้อมูล (Field List)ให้เลือก
4. คลิกที่ฟิลด์ที่ต้องการ
5. เลือกตำแหน่งที่ต้องการแสดงฟิลด์
6. คลิกปุ่ม Add to เพื่อวางฟิลด์ในตำแหน่งที่เลือก


บทที่ 5 การสร้างรายงาน

ตอนที่ 1
1.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของรายงาน
ง.Chart
2.มุมมองของรายงานที่เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access2007 คือมุมมองใด
ก.Layout View
3.Page Footer คือส่วนใด
ค.ส่วนที่ต้องการแสดงผลข้อมูลให้ปรากฎอยุ่ที่ส่วนท้ายของทุกๆหน้ารายงาน
4.หลังจากแทรกชื่อเรื่อง (Title) ของรายงานแล้ว จะแสดงพื้นที่ส่วนใดของรายงานให้อัติโนมัติ
ก.Report Header/Footer
5.ผลลัพธ์ในการสร้างรายงานแบบอัตโนมัติจะมีลักษณะของรายงานเป็นแบบใด
ข.Tabular
6.ถ้าต้องการสร้างรายงานโดยให้มีการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วย จะต้องสร้างรายงานด้วยวิธีใด
ค.สร้างรายงานด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง
7.ถ้าต้องการสรุปข้อมูลในรายงานโดยให้แสดงอยู่ที่ส่วนท้ายสุดของรายงานจะต้องกำหนดที่ตำแหน่งใด
ค.Report Footer
8.ในการป้อนสูตรฟังก์ชั่นจะต้องใช่เครื่องมือใด
ข.Text Box
9.ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
ง.Avg
10.ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนสูตรฟังก์ชั่นในการหาผลรวมของฟิลด์เงินเดือน
ข.=Sum([Salary])

ตอนที่ 2
1.Columnar Report à ซ.แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่าง
2.Tabular Report à จ.แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดใน 1 รายการ
3.Label Report à ฉ.พิมพ์ป้ายฉลากติดซองจดหมาย
4.Page Header à ญ.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงทุกหน้าของรายงาน
5.Report Hrader à ข.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงในหน้าแรก
6.Detail à ก.ส่วนในการแสดงฟิลด์ข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
7.Pages à ช.แสดงเลขหน้าทั้งหมด
8.Page à ค.แสดงเลขหน้าปัจจุบัน
9.Sum à ง.รวมข้อมูลทั้งหมด
10.Count à ฌ.นับจำนวนทั้งหมด


ตอนที่ 3

1.การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
- 3 แบบ
1.รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) มีประโยชน์แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคอร์ดจากบนลงล่าง ทีละ 1 เรคอร์ด
2.รายงานแบบตาราง (Tabular Report) มีประโยชน์เป็นรายงานที่แสดงแบบแถวและคอลัมน์ซึ่งจะแสดงข้อมุลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
3.รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) มีประโยชน์เป็นรายงานที่พิมพ์ฉลากต่างๆ

2.จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
- ประกอบด้วย 5 ส่วน
1.Report Header เป็นส่วนที่ใช้แสดงข้อความหรือรายเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงาน
2.Page Header เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน
3.Detail เป็นพื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและแบบสอบถามข้อมูล
4.Page Footer เป็นพื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน
5.Report Footer เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น
3. จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
1. คลิกที่แท็บ Create
2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่ม Ascendingและคลิกที่ปุ่มDescending ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่Orientationเลือกแนวกระดาษเลือก Portraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
1. คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customize แล้วกำหนดขนาดใหม่
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
ข้อดี
-สะดวกรวดเร็ว สามารถคำนวณข้อมูลได้ สามารถพิมพ์ออกมาได้
ข้อเสีย
สะดวกรวดเร็ว ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์


บทที่6
ตอนที่ 1
1.เราสามารถนำข้อมูลจากโปรแกรมใดเข้ามาใน Access ได้
ง.ถูกทุกข้อ
2.เราสามารถส่งออกข้อมูล Access ไปไว้ยังโปรแกรมประเภทใดได้บ้าง
ง.ถูกทุกข้อ
3.ข้อใด กล่าวผิด ในเรื่องการเชื่อมโยงตารางข้อมูล
ค.การเชื่อมโยงตารางข้อมุล
4.ในการบีบอัดฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ก.Compact and Repair Database
5.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ข.การกำหนดรหัสผ่านให้ฐานข้อมูลควรเปิดฐานข้อมูลแบบ Only
6.หากต้องการกำหนดรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ก.Encrypt with Password
7.ถ้าต้องการยกเลิกรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ข.Decrypt Database
8.การดูตัวอย่างก่อนพิมพ์สามารำทำได้ ยกเว้นข้อใด
ค.คลิกเลือกมุมมอง Print Preview ในฟอร์ม
9.ถ้าต้องการกำหนดขนาดของกระดาษเป็นแนวนอนจะต้องใช้คำสั่งใด
ข.Landspace
10.ถ้าเข้าสู่การพิมพ์เอกสารสามารถทำได้โดย
ง.ถูกทุกข้อ


ตอนที่ 2
1.Import Database à ฉ.นำข้อมูลจาก Excel เข้ามาในโปรแกรม
2.Export Database à ข.นำข้อมูลจากAccessไปไว้ในExcel
3.compact and repair database à ฌ.ทำให้ฐานข้อมูลมีขนาดเล็กลง
4. Encrypt with Database à ช.กำหนดรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูล
5. Decrypt Database à ซ.ยกเลิกรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูล
6.Landpace à จ.กำหนดกระดาษในแนวนอน
7.Portrain à ญ.กำหนดกระดาษในแนวตั้ง
8.Margins à ก.กำหนดขอบกระดาษ
9.Size à ง.กำหนดขนาดของกระดาษ
10.PrintPreview à ค.ดูตัวอย่างก่อนพิมพ์เอกสาร

วิชาการโปรแกรมเว็บ 1

แบบฝึกหัดที่ 1
1อินเทอร์เน็ตหรือทีเรียกกันสั้นๆว่าอย่างไร คืออะไร
ตอบ "เน็ต"คือระบบเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุด ที่เซือมต่อคอมพิวเตอร์หลายล้านเครืองเข้าด้วยกัน จนเรียกได้ว่าเป็น"เครือข่ายไร้พรมแดน"
2ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ตมีลักษณะอย่างไร
ตอบ "ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์"(client-Server)คือมีเครืองคอมพิวเตอร์ทีทำหน้าที่เป็นเซร์ฟเวอร์คือ"เครืองแม่ข่าย"หรือ ผู้ให้บริการกับเครืองทีเป็นไคลเอนท์คือ"เครืองลูกข่าย"หรือผู้ขอใช้บริการมีการติดต่อสือสารกันตลอดเวลา
3"ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์"(client-server)คืออะไร
ตอบ มีคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ ( เครื่องแม่ข่าย ) ให้บริการ เครื่องลูกข่าย ( Client ) ในการติดต่อสื่อสาร จะมีที่อยู่ของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเตอร์เน็ต เรียกว่า ( IP Address ) เป้นเลข 4 ชุด คั่นด้ยจุด เช่น 202.146.15.9
4ชือทีอยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทีใช้ในอินเตอร์เน็ต เรียกกันว่าอย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ IP Address เช่น 202.146.15.9
5บอกประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตมาอย่างน้อย5อย่าง
ตอบ 1.โหลดโปรแกรม
2.รับ-ส่ง E-mail
3.ค้นหาข้อมูล ข่าวสาร
4.ฟังเพลง
5.ซื้อสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
6ยกตัวอย่างภัยจากอินเตอร์เน็ตทีมีต่อเยาวชนไทยในปัจจุบนมา 3ข้อ
ตอบ 1.สื่อลากทางอินเตอร์เน็ต
2.การติดเกมส์
3.การแชท
7เวิลด์ไวด์เว็บ(world wide webหรือwwwหรือw3)คืออะไร
ตอบ บริการข้อมูลในรูปแบบของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง รวมทั้งวีดีโอ เป็นแหล่งข้อมูลขนาดยักษ์
8รูปแบบของFTPแบ่งได้เป็นกีแบบอะไรบ้าง
ตอบ 2แบบ 1. Download 2. Upload
9เว็บบราวเซอร์(Web Browser)หมายถึงอะไร
ตอบ คือ โปรแกรมที่ใช้เปิดเว็บเพจ เรียกสั้นๆว่า Browser มีหน้าที่ติดต่อกับเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อขอข้อมูลที่ต้องการมาแสดงที่หน้าจอของโปรแกรม เช่น โปรแกรม Internet Explorer (IE)
10URL(Uinform Resource Locator)คืออะไร ยกตัวอย่างรูปแบบ URL
ตอบ การเข้าถึงข้อมูลใด ๆ ในอินเตอร์เน็ตไม่ว่าจะเป้นเว้บเพจ ไฟล์ประเภทอื่น ต้องรู้ Address ของข้อมุลนั้น รูปแบบถูกกำหนดไว้เป้นมาตรฐาน ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. โปนโตคอล คือภาษกลางบนอินเตอร์เน็ต 2. ชื่อโดเมนของเครื่อง 3. ชื่อไฟล์เว็บเพจ
ตัวอย่าง URL http://www.universe.com/ampacai/index.html
ตอนที่2
1ค
2ข
3ข
4ค
5ค
6ง
7ค
8ข
9ก
10ค
11ข
12ก
13ค
14ง
15ง

วิชาออกแบบและพัฒนาเว็ปเพจ

แบบฝึกหัดบทที่ 1
ระบบคอมพิวเตอร์(computer system)แบ่งออกเป็น 3 สวนหลักๆที่สำคัญ คือ
1. Hardware (ตัวเครื่อง) ได้แก่
- จอภาพ
- คีย์บอร์ด
- CPU
- เมาส์
- สแกนเนอร์
- แทรกบอลล์
- จอยสติ๊ก
- ตัวขับจานแม่เหล็ก
- ตัวขับ ซีดี-รอม
- ไมโครโฟน
- กล้องวิดีโอ
- เครื่องอ่านรหัสแท่งหรือบาร์โค้ด
2. Software (โปรแกรม) แบ่งเป็น 2 อย่างได้แก่
2.1 System Software ได้แก่
- OS
- Utility
- Translation
- Diganostic
2.2 Application Software ประกอบด้วย 2 อย่าง ได้แก่
2.2.1 User Programs (ผู้ใช้เขียนเอง) เช่น
- ภาษา C
- Visual Basic
- Pascal
- C++
- html
- Flash
2.2.2 Package Programs
- เกมส์
- Windows
- MS-office
- PhotoShop
- PhotoScape
- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
3. People ware (บุคลากร) ได้แก่
- Programmer
- System Analysis
- เจ้าหน้าที่กราฟิกดีไซน์
- เจ้าหน้าที่สารสนเทส (IT support)
- Application Support
- เจ้าหน้าที่ Admin และ Project co.

บทที่ 1
Microsoft Office Word 2007
- การเปิดโปรแกรม Microsoft Office Word 2007Word 2007
การสร้างเอกสารด้วย Microsoft Office Word 2007 เรียกสั้น ๆ ว่า “Word” เป็นโปรแกรมที่นิยมใช้พิมพ์เอกสารต่างๆ วิธีการเรียกใช้โปรแกรมทำได้ดังนี้
1. คลิกปุ่ม Start
2. คลิกที่ All Programs
3. คลิกที่ Microsoft Office
4. คลิกที่ Microsoft Office Word 2007
- ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Office Word 2007
จะมีแถบเครื่องมือเพิ่มขึ้นมา ทำให้เรียกใช้งานได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งมีส่วนประกอบต่าง ๆ ดังนี้
1. แถบเครื่องมือลัด (Quick Access Toolbar) สำหรับเก็บเครื่องมือที่ใช้งานบ่อย เลื่อนเม้าส์ชี้ที่ปุ่มจะมีคำอธิบายแต่ล่ะปุ่ม เรียกแถบคำอธิบายว่า “Tooltip”
2. ปุ่มกำหนดเครื่องมือด่วนเอง ทดลองคลิกที่ปุ่มนี้ดูคำสั่งภายใน เลือกรายการย่อ Ribbon ให้เล็กที่สุด Ribbon จะถูกซ่อน ให้คลิกรายการย่อ Ribbon ให้เล็กที่สุด (ซ้ำ) จะปรากฏแถบ Ribbon ตามเดิม หรือกดคีย์บนแป้นพิมพ์ Ctrl + F1 เพิ่มแสดงหรือซ่อนแถบเครื่องมือ Ribbon
3. ไตเติ้ลบาร์ (Title Bar) แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์เอกสารที่เปิดใช้งานอยู่
4. คอนโทรลเมนู (Control Menu) ปุ่มควบคุมการทำงานของหน้าต่างโปรแกรม
5. เมนูบาร์ (Menu Bar) แสดงรายการคำสั่งต่าง ๆ ของโปรแกรม Word 2007 ให้ทดลองคลิกเมนูหน้าแรก และคลิกเมนูแทรก เมนูเค้าโครงหน้ากระดาษ เมนูการอ้างอิง เมนูการส่งจดหมาย เมนูตรวจทาน เมนูมุมมอง และเมนู Add-In จะเปลี่ยนตามแต่ละเมนู
6. ทูลบาร์หรือริบบอน เป็นแถบเครื่องมือเก็บคำสั่งที่ใช้งาน ช่วยให้การทำงาน ง่ายขึ้น
7. ไม้บรรทัด ใช้แสดงระยะต่างของเอกสาร
8. เครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) เส้นตรงกระพริบ บอกตำแหน่งการเริ่มพิมพ์ข้อความ
9. เมาส์พอยเตอร์ (Mouse Pointer) เรียก ไอบีม I-beam แสดงที่อยู่ของเมาส์
10. มุมมองเอกสาร (View Button) แสดงมุมมองของเอกสาร ว่าเป็นสถานะแบบใด
11. ปุ่มย่อ/ขยายเอกสาร แสดงมุมมองของเอกสาร คลิกปุ่ม – หน้าต่างเอกสารจะย่อมุมมอง หรือคลิกปุ่ม + หน้าต่างเอกสารจะขยาย
12. ปุ่มเลื่อนจอภาพ ใช้เลื่อนจอภาพขึ้นลง ครั้งละ 1 หน้าจอภาพ
13. แถบสถานะ (Status Bar) แสดงสถานการณ์ทำงาน หมายเลขหน้าในเอกสาร
14. สโครลบาร์ (Scroll Bar) เลื่อนพื้นที่การทำงานขึ้นลง
15. สโครลบ๊อกซ์ (Scroll Box) ลากเลื่อนขึ้นลงอย่างรวดเร็ว
16. สโครลแอโร่ (Scroll Arrow) คลิกเลื่อนลูกศรเลื่อนขึ้นลงทีละขึ้น
- เตรียมพร้อมก่อนใช้งานโปรแกรมเป็นหัวข้อพิเศษในการจัดรูปแบบให้เหมาะสมก่อนเริ่มใช้งานทั่วไป
การแสดง/ซ่อนสัญลักษณ์
1. เลื่อนเมาส์คลิกที่ปุ่ม ¶
2. จะปรากฏแถบเครื่องหมายย่อหน้าและสัญลักษณ์การจัดรูปแบบอื่น ๆ ที่ซ่อนอยู่
3. คลิกปุ่ม ¶ บนหน้าต่างเอกสารจะแสดงเครื่องหมาย ¶ เป็นการขึ้นย่อหน้าใหม่
4. คลิกปุ่ม ¶ ซ้ำ เครื่องหมาย ¶ ถูกซ่อน
การปรับหน่วยวัดไม้บรรทัด มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม Office
2. คลิกที่ปุ่ม ตัวเลือก Word
3. คลิกที่รายการ ขั้นสูง
4. คลิกที่ลูกศร เลือกหน่วยเป็น นิ้ว
5. คลิกที่ปุ่ม ตกลง
6. สังเกตตัวเลขบนไม้บรรทัดหน้าต่าง Word 2007 แสดงเลข 1 ถึงเลข 6
- การตั้งค่าฟอนต์เริ่มต้นให้เหมาะสมกับการทำงาน มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม ด้านขวา แถบเครื่องมือ (Font)
2. เลือกแบบอักษรข้อความละติน : เลือก Angsana New ลักษณะอักษร : ธรรมดาขนาด : 16
3. คลิกปุ่ม ค่าเริ่มต้น เพื่อครั้งต่อไปเปิดใช้งานไม่ต้องกำหนดฟอนต์ใหม่
4. คลิกปุ่ม ตกลง
- การออกจากโปรแกรม Microsoft Office Word 2007 มีขั้นตอนดังนี้
วิธีที่1 ใช้ปุ่มคอนโทรล
ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่มคอนโทรลบนแถบไตเติ้ลบาร์จะปิดหน้าต่างโปรแกรมทันที
วิธีที่2 ใช้ปุ่มเครื่องมือ
คลิกที่ปุ่ม X (Close) มุมบนด้านขวาของหน้าต่างโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
วิธีที่3 ใช้ปุ่มคำสั่ง
1. คลิกที่ปุ่ม Office หรือดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่มคอนโทรล จะปิดหน้าต่างโปรแกรมทันที
2. คลิกที่ปุ่ม ออกจาก Word มุมล่างด้านขวา

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบฝึกหัดบทที่ 1
ให้นักศึกษาหาข้อมูลใน Internet เพื่อตอบคำถามต่อไปนี้

1) จงอธิบายวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างละเอียด
ตอบ มี 4 ยุค
1 การประมวลผลข้อมูล มีจุดประสงค์เพื่อการคำนวณและประมวลผลของรายการประจำ
2 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ช่วยในการตัดสินใจ ควบคุม ดำเนินการ ติดตามผลและวิเคราะห์ผงาน ของผู้บริหาร
3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ
4 ยุคปัจจุบันหรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำ ระบบสารสนเทศ และเน้นความคิดของการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำคัญ

2) จงระบุองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตอบ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2 เทคโนโลยีโทรคมนาคม

3) คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดี มีอะไรบ้าง
ตอบ 1 ความเที่ยงตรง 2 ทันต่อความต้องการใช้ 3 ความสมบูรณ์ 4 การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
5 ตรวจสอบได้

4) จงบอกประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ มาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1 เป็นแหล่งบันเทิง 2 เพิ่มความสะดวกสบาย 3 ทำสื่อการสอน 4 ประหยัดเวลา 5 ใช้รวบรวมข้อมูล

5) จงบอกภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศตามความเข้าใจ
ตอบ 1 สื่อลามก 2 การสร้าง/ส่งข้อมูลลวง 3 การล้วงข้อมูลมาใช้งาน

6) ปัจจัยที่ทำให้เกิดความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ตอบ มีปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ 1 การขาดการวางแผนที่ดีพอ 2 การนำเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน
3 การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง

วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ซื่อ ธันวา
นามสกุล ไชยเดช
เกิดวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2534
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ 51 เพชรเกษม 58 แยก 7 ถนนเพชรเกษม แขวงบางด้วน เขต ภาษีเจริญ ก.ท.ม 10160
เบอร์โทรศัพท์นักศึกษา 0855120644
สุขภาพ ปกติ
โรคประจำตัว -
แพ้ยา -
บิดาซื่อ มงคล ไชยเดช เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ 0891295086
มารดาซื่อ จันทกาน ไชยเดช เบอร์โทรศัพท์ 0820215302
อาจาร์ยที่ปึกษา อ. อำภา กุละฃธรรมโยธิน
มือถืออาจาร์ยที่ปรึกษา 081-4134242